องค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่
ตัวอย่าง แบนเนอร์ สำหรับเว็บไซต์
โค้ดสำหรับเว็บไชต์
ตัวอย่าง แบนเนอร์ สำหรับเว็บไซต์
โค้ดสำหรับเว็บไชต์
วันที่ 7 ก.พ. 2565 เวลา 09.00 น. ผศ.ดร.เสนห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นพร้อมด้วยคณะกรรมการดำเนินงานศึกษาสำรวจความเป็นไปได้ ในการพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ลงพื้นที่วิสาหกิจชุมชนกลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ นางจรัญญา ศรีรักษ์ กำนันตำบลบางใบไม้ และประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ อธิบายรายละเอียดของการดำเนินงานกิจกรรม และวัตถุประสงค์ในการของบประมาณสนันสนุน พร้อมอธิบายแนวทางในการจัดการกลุ่มฯ เพื่อให้ข้อมูลแก่คณะการสำรวจความเป็นไปได้ในการพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน สำหรับการดำเนินงานในรอบแรก จะมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 45 กลุ่ม ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้าน ด้าน OTOP จำนวน 9 กลุ่ม ด้านการท่องเที่ยว จำนวน 6 กลุ่ม ด้านการประมง จำนวน 2 กลุ่ม และด้านเกษตร จำนวน 28 กลุ่ม ดร.กฤษณะ…
จากการผลักดันและพัฒนากิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว มาโดยตลอดระยะเวลากว่า 2 ปี ในพื้นที่เกาะพะลวย ชุมชนพร้อมผลักดันสู่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนเกาะพะลวย พร้อมวางเป้าหมาย ปี 2567 วิสาหกิจฯ มีกิจกรรมและผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว พร้อมสร้างรายได้เสริมจากการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยมี 5 กลุ่ม คือ กลุ่มนวด กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มเรือนำเที่ยว กลุ่มที่พัก และกลุ่มผู้นำเที่ยว อาจารย์เกสสิณี ตรีพงศ์พันธุ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเอกการท่องเที่ยว วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กล่าวว่า กระบวนการในครั้งนี้ เป็นเรื่องของการจัดการกลุ่ม บริหารจัดการทรัพยากร ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมกัน และแหล่งที่มาของรายได้ เพื่อวางแผนการทำงานในอนาคต นางสรินณา จันทร์แจ่ม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนเกาะพะลวย เป็นโอกาสที่ดีที่กลุ่มได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ในการพัฒนากลุ่มตั้งแต่เริ่มต้นทำความเข้าใจในกระบวนการบางเรื่องก็ไม่สามารถรีบร้อนได้ เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน สำหรับกิจกรรมในวันนี้ทางกลุ่มได้กำหนดข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างกลุ่มต่างไป เช่น กลุ่มนวด กลุ่มเรือรับจ้าง กลุ่มผู้นำเที่ยวและกลุ่มผลิตภัณฑ์ในพื้นที่ ได้ข้อตกลงร่วมกัน เพื่อให้กลุ่มสามารถเดินต่อไปได้
วันที่ 3 ก.พ. 2565 เวลา 10.00 น. นายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ประชุมติดตามความก้าวหน้า การดำเนินโครงการ ประจำปี 2565 พร้อมให้รายละเอียดการจัดตั้งงบประมาณ 2566 พร้อมเตรียมบูรณาการระหว่างงานบริการวิชาการ และงานวิจัย เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน โดยปี 2565 – 2566 มุ่งเน้นส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการเรียนการสอนและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน สำหรับภาระกิจกหลักของโครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษา รร.ตชด ประกอบด้วยการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวัย การจัดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา การจัด และให้บริการห้องสมุดโรงเรียน ซึ่งการดำเนินงานส่วนใหญ่จะดำเนินการในช่วงไตรมาส 3 ของปีงบประมาณ ประกอบด้วย อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนครู ตชด. การใช้ Google Appication เพื่อพัฒนางานห้องสมุดยุคใหม่ การจัดการเรียนรู้เสริมทักษะทางสมอง EF บูรณาการกับการจัดการเรียนรู้ แบบไฮสโคป (Hi-scope) เตรียมความพร้อมสมรรถนะ ด้านการจัดการสอนในยุค New Normal อบรมเชิงปฏิบัติการโดยเน้นสมรรถนะจิตวิทยา สำหรับครูสู่ทักษะการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน และการตรวจเยี่ยมโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน…
อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง – Kapoe, Ranongพื้นที่ 657.69 km2 คำขวัญ แหล่งแตงโมอร่อย หอยทะเลสด เป็ดเลิศรส หาดงามงด ป่าเขียวขจี เทศบาลตําบลกะเปอร์ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนา องค์การบริหารส่วนตำบลกะเปอร์ องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง องค์การบริหารส่วนตำบลบางหิน
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาลตำบลวัดประดู่ เทศบาลตำบลขุนทะเล องค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนาก องค์การบริหารส่วนตำบลคลองน้อย องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย องค์การบริหารส่วนตำบลบางใบไม้ องค์การบริหารส่วนตำบลบางไทร องค์การบริหารส่วนตำบลบางโพธิ์ องค์การบริหารส่วนตำบลบางชนะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ เทศบาลตำบลช้างซ้าย เทศบาลตำบลท่าทองใหม่ เทศบาลตำบลกาญจนดิษฐ์ เทศบาลตำบลกรูด เทศบาลตำบลช้างขวา องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสระ องค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าทอง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าทองใหม่ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งกง องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งรัง องค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าอุแท องค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอเกาะพะงัน เทศบาลตำบลเกาะพะงัน เทศบาลตำบลเกาะเต่า เทศบาลตำบลบ้านใต้ เทศบาลตำบลเพชรพะงัน อำเภอเกาะสมุย เทศบาลนครเกาะสมุย อำเภอคีรีรัฐนิคม เทศบาลตำบลท่าขนอน องค์การบริหารส่วนตำบลกะเปา องค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระดาน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง องค์การบริหารส่วนตำบลย่านยาว องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำหัก องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทำเนียบ อำเภอเคียนซา เทศบาลตำบลเคียนซา…
โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับคณาจารย์ คณะนิติศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะพยาบาลศาสตร์ พร้อมด้วยบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ได้เดินทางลงพื้นที่บ้านสวนปราง ตำบลคลองสระ อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมหารือแนวทางการพัฒนา รับฟังปัญหา รายงานผลการดำเนินงานในปีงบประมาณปี 2564 และนำข้อเสนอแนะไปปรับแนวทางการดำเนินงานโครงการตามพระบรมราโชบายในพื้นที่ นายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นกล่าวว่า พื้นที่ภูรินเป็น 1 ใน 3 พื้นที่ ได้รับการสนับสนุนให้ดำเนินงานเพื่อตอบโจทย์ตามโครงการพระบรมราโชบาย 4 ด้าน คือด้านการศึกษา เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมซึ่งมหาวิทยาลัย เข้ามาเพื่อขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ภูริน โดยมหาวิทยาลัยฯมีเจ้าภาพหลักในการพัฒนาพื้นที่ภูรินจะเป็นคณะนิติศาสตร์ สำหรับในปี2565 ทางมหาวิทยาลัย ได้เข้ามาดำเนินโครงการ จำนวน 5 กิจกรรม ประกอบด้วย โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเตาเผาขยะชุมชน โครงการสร้างสร้างสุขเมืองคนดีเพื่อชีวีผู้สูงอายุ โครงการยกระดับคุณค่าสมุนไพรภูริน โครงการยกระดับคุณค่าดินขุยไผ่ และโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริการจัดการภัยพิบัติในพื้นที่