องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง
อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง – La-un, Ranong
พื้นที่ 748.50 km2 คำขวัญ ป่าเขาเขียว เที่ยวล่องแพ แลภูผางาม ตามรอยสงครามโลก
อำเภอละอุ่น จังหวัดระนอง – La-un, Ranong
พื้นที่ 748.50 km2 คำขวัญ ป่าเขาเขียว เที่ยวล่องแพ แลภูผางาม ตามรอยสงครามโลก
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี เทศบาลตำบลวัดประดู่ เทศบาลตำบลขุนทะเล องค์การบริหารส่วนตำบลคลองฉนาก องค์การบริหารส่วนตำบลคลองน้อย องค์การบริหารส่วนตำบลมะขามเตี้ย องค์การบริหารส่วนตำบลบางใบไม้ องค์การบริหารส่วนตำบลบางไทร องค์การบริหารส่วนตำบลบางโพธิ์ องค์การบริหารส่วนตำบลบางชนะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ เทศบาลตำบลช้างซ้าย เทศบาลตำบลท่าทองใหม่ เทศบาลตำบลกาญจนดิษฐ์ เทศบาลตำบลกรูด เทศบาลตำบลช้างขวา องค์การบริหารส่วนตำบลคลองสระ องค์การบริหารส่วนตำบลตะเคียนทอง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าทอง องค์การบริหารส่วนตำบลท่าทองใหม่ องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งกง องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งรัง องค์การบริหารส่วนตำบลป่าร่อน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าอุแท องค์การบริหารส่วนตำบลพลายวาส อำเภอเกาะพะงัน เทศบาลตำบลเกาะพะงัน เทศบาลตำบลเกาะเต่า เทศบาลตำบลบ้านใต้ เทศบาลตำบลเพชรพะงัน อำเภอเกาะสมุย เทศบาลนครเกาะสมุย อำเภอคีรีรัฐนิคม เทศบาลตำบลท่าขนอน องค์การบริหารส่วนตำบลกะเปา องค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำสิงขร องค์การบริหารส่วนตำบลท่ากระดาน องค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านยาง องค์การบริหารส่วนตำบลย่านยาว องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำหัก องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านทำเนียบ อำเภอเคียนซา เทศบาลตำบลเคียนซา…
อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง – Kapoe, Ranongพื้นที่ 657.69 km2 คำขวัญ แหล่งแตงโมอร่อย หอยทะเลสด เป็ดเลิศรส หาดงามงด ป่าเขียวขจี เทศบาลตําบลกะเปอร์ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนา องค์การบริหารส่วนตำบลกะเปอร์ องค์การบริหารส่วนตำบลม่วงกลวง องค์การบริหารส่วนตำบลบางหิน
เมื่อเวลา 10.00 น. (15 กุมภาพันธ์ 2565) โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ร่วมกับกองนโยบายและแผนดำเนินการจัดประชุมแนวทางการจัดทำกรอบแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2566 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ 2 ชั้น 2 อาคารสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยมี ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม เป็นประธานในการประชุม ทั้งนี้ได้มีหน่วยงานที่ดำเนินโครงการตามยุทธศาสตร์ ที่ 1 การพัฒนาท้องถิ่น (3O 7KR) โดยรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการกวิจัยและนวัตกรรมกได้กล่าวว่า มหาวิทยาลัยได้เน้นย้ำและมีเป้าหมายอย่างชัดเจนว่าการดำเนินงานโครงการของทุกหน่วยงานในพื้นที่ตามโครงการพระบรมราโชบาย ประชาชนในพื้นที่จะต้องได้รับประโยชน์สูงสุด และสามารถใช้องค์ความรู้ที่ได้รับอาจารย์และคณะทำงานไปใช้ในชีวิตประจำวันประกอบอาชีพได้และสามารถยืนหยัดได้ด้วยตนเอง ขณะที่ นายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นได้ ชี้แจงว่า การเสนอโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ทางคบว.และสถาบันวิจัยฯจะร่วมกันสังเคราะห์เพื่อการบูรณาการ และพิจารณาว่าโครงการที่นำเสนอมานั้นตรงกับพื้นที่เป้าหมายหรือไม่และนำส่งไปยังกองนโยบายและแผนภายใน วันที่ 21 สิงหาคม 2565 โดยคณะกรรมการฯสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มหลักเกณฑ์การขอรับข้อเสนอโครงการพระราโชบายด้านการพัฒนาท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ทางเว็บไซต์กองบริการวิชาการฯและในไลน์กลุ่มคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาท้องถิ่น โดยมติที่ประชุมได้ข้อสรุปว่า ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาท้องถิ่น 3O…
เวลา 07.30 น. (15 สิงหาคม 2565) โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี นำโดย นายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นและคณะทำงานอาจารย์ บุคลากร ในพื้นที่บริการวิชาการของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง ประจำปีงบประมาณ 2565 เดินทางไปยังจังหวังกระบี่ ณ โรงแรมดุสิต ดีทู อ่าวนาง เพื่อจัดการประชุมสัมมนาถอดบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการพระบรมราโชบายและโครงการตามแนวพระราชดำริโดยมี ผศ.ดร.วัฒนา รัตนพรหม รักษาราชการแทนอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี เป็นประธานกล่าวเปิดงานและกล่าวต้อนรับ ทีมคณะทำงานทุกๆท่าน ผ่านระบบออนไลน์ พร้อมด้วยอาจารย์ ดร.สมปราชญ์ วุฒิจันทร์ รองอธิการบดีฝ่ายพันธกิจสัมพันธ์ และเครือข่ายสังคม ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์ รองอธิการบดีฝ่ายแผนยุทธศาสตร์ วิชาการ และทรัพยากรมนุษย์ ได้มาร่วมแลกเปลี่ยน ร่วมคิด ร่วมทำ สรุปแนวทางการขับเคลื่อนงานด้านพัฒนาท้องถิ่น แผนการดำเนินงาน และแผนงบประมาณกับการประชุมสัมมนาในครั้งนี้ ทั้งนี้ โครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น มุ่งหวังผลจากการ ถอดบทเรียน ติดตามผลการดำเนินงานในครั้งนี้ว่าสามารถจะนำผลการดำเนินงานที่ผ่านมาไปพัฒนาศักยภาพอาจารย์บุคลากร ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในระดับพื้นที่ทั้ง 3 จังหวัด…
วันที่ 7 ก.พ. 2565 เวลา 09.00 น. ผศ.ดร.เสนห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นพร้อมด้วยคณะกรรมการดำเนินงานศึกษาสำรวจความเป็นไปได้ ในการพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ลงพื้นที่วิสาหกิจชุมชนกลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ นางจรัญญา ศรีรักษ์ กำนันตำบลบางใบไม้ และประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ตำบลบางใบไม้ อธิบายรายละเอียดของการดำเนินงานกิจกรรม และวัตถุประสงค์ในการของบประมาณสนันสนุน พร้อมอธิบายแนวทางในการจัดการกลุ่มฯ เพื่อให้ข้อมูลแก่คณะการสำรวจความเป็นไปได้ในการพัฒนาอาชีพ และส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชน สำหรับการดำเนินงานในรอบแรก จะมีกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 45 กลุ่ม ที่ได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ ซึ่งแบ่งเป็น 4 ด้าน ด้าน OTOP จำนวน 9 กลุ่ม ด้านการท่องเที่ยว จำนวน 6 กลุ่ม ด้านการประมง จำนวน 2 กลุ่ม และด้านเกษตร จำนวน 28 กลุ่ม ดร.กฤษณะ…
จากการผลักดันและพัฒนากิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว มาโดยตลอดระยะเวลากว่า 2 ปี ในพื้นที่เกาะพะลวย ชุมชนพร้อมผลักดันสู่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนเกาะพะลวย พร้อมวางเป้าหมาย ปี 2567 วิสาหกิจฯ มีกิจกรรมและผลิตภัณฑ์ด้านการท่องเที่ยว พร้อมสร้างรายได้เสริมจากการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยมี 5 กลุ่ม คือ กลุ่มนวด กลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน กลุ่มเรือนำเที่ยว กลุ่มที่พัก และกลุ่มผู้นำเที่ยว อาจารย์เกสสิณี ตรีพงศ์พันธุ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาเอกการท่องเที่ยว วิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี กล่าวว่า กระบวนการในครั้งนี้ เป็นเรื่องของการจัดการกลุ่ม บริหารจัดการทรัพยากร ผลิตภัณฑ์ กิจกรรมท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดข้อตกลงร่วมกัน และแหล่งที่มาของรายได้ เพื่อวางแผนการทำงานในอนาคต นางสรินณา จันทร์แจ่ม ประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนเกาะพะลวย เป็นโอกาสที่ดีที่กลุ่มได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ในการพัฒนากลุ่มตั้งแต่เริ่มต้นทำความเข้าใจในกระบวนการบางเรื่องก็ไม่สามารถรีบร้อนได้ เนื่องจากสถานการณ์ปัจจุบัน สำหรับกิจกรรมในวันนี้ทางกลุ่มได้กำหนดข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างกลุ่มต่างไป เช่น กลุ่มนวด กลุ่มเรือรับจ้าง กลุ่มผู้นำเที่ยวและกลุ่มผลิตภัณฑ์ในพื้นที่ ได้ข้อตกลงร่วมกัน เพื่อให้กลุ่มสามารถเดินต่อไปได้