ศูนย์วิทยาศาสตร์ มรส.จัดเต็มให้บริการทุกมิติ รองฯพันธกิจสัมพันธ์ เผยพัฒนาทักษะทุกศาสตร์เพื่อตอบสนองความต้องการของพื้นที่

การเรียนรู้ถือเป็นการศึกษาตามอัธยาศัยที่ควรส่งเสริมให้นักศึกษาที่ต้องการมุ่งมั่นพัฒนาโลกแห่งวิทยาศาสตร์ ความก้าวไกลของนวัตกรรมที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ถือว่าเป็นกลไกหนึ่งที่พร้อมสนับสนุนมิติแห่งทุกสรรพศาสตร์ของโลกวิทยาศาสตร์ให้มีการขับเคลื่อนอยู่ตลอดเวลา ดร.พลกฤต แสงอาวุธ  รองอธิการบดีฝ่ายพันธกิจสัมพันธ์ เผยว่า มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยงานบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่นและศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเตรียมความพร้อมทุกศาสตร์และทุกสาขาวิชาเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนท้องถิ่นและผู้เรียน โดยมีการจัดกิจกรรมการปฏิบัติการฝึกอบรมทุกมิติ ได้แก่ 1.ด้านผลิตเจลและสเปรย์แอลกอฮอล์ 2.ด้านพัฒนาครูวิทย์และคณิต 3. ด้านให้บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์ครบถ้วน 4.ด้านการตรวจวิเคราะห์ 5.ด้านพัฒนาทักษะวิทย์และคณิตแก่ผู้เรียน รองอธิการบดีฝ่ายพันธกิจสัมพันธ์กล่าวต่อไปว่า จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันนี้ได้มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อใช้ในการอำนวยความสะดวกและแก้ปัญหาในสถาการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างคาดไม่ถึง เช่น การแพร่ระบาดของไวรัส COVID – 19  ซึ่งมหาวิทยาลัยก็ให้การสนับสนุนหน้ากากอนามัย เจลและสเปรย์แอลกอฮอล์ ที่ใช้องค์ความรู้จากคณาจารย์และบุคลากรวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ล้วนแต่เป็นการเรียนรู้รากฐานมาจากทุกสรรพศาสตร์ของวิทยาศาสตร์ที่นำมาให้บริการแก่ชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จับมือ สสจ.ชุมพร ผนึกกำลังสำรวจผลกระทบ COVID-19

เมื่อเวลา 13.00 น. (6 พฤศจิกายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา พร้อมกับโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ได้ดำเนินการลงพื้นที่จังหวัดชุมพร โดยมี ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่จังหวัดชุมพร เพื่อผนึกกำลังกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร ในการสำรวจผลกระทบของประชาชนที่ได้รับจากสถานการณ์การเเพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19 ) ในพื้นที่จังหวัดชุมพร ทั้งนี้ยังได้ดำเนินการสำรวจความต้องการเร่งด่วนที่จะให้มหาวิทยาลัยฯ นำองค์ความรู้และนวัตกรรมช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ องการเร่งด่วนที่จะให้มหาวิทยาลัยฯ นำองค์ความรู้และนวัตกรรมช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี แสดงความยินดีโอกาสรับตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

เมื่อเวลา 11.30 น. (6 พฤศจิกายน 2563) ผศ.ดร.วัฒนา รัตนพรหม รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มอบหมายให้ ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น เข้าพบแสดงความยินดีกับท่านธีระ อนันตเสรีวิทยา ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ในโอกาสรับตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ณ ศูนย์ราชการจังหวัดชุมพร

มรส.ร่วมกับสสจ.ระนองผนึกกำลังสำรวจผลกระทบจาก COVID-19 ของประชาชนในพื้นที่

เมื่อเวลา 14.00 น. (5 พฤศจิกายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา พร้อมกับโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ได้ดำเนินการลงพื้นที่จังหวัดระนอง โดยมี ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อผนึกกำลังกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง ในการสำรวจผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์เเพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19 ) ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดระนอง และสำรวจความต้องการเร่งด่วนที่จะให้มหาวิทยาลัยฯ นำองค์ความรู้และนวัตกรรมช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จับมือ สสจ.ชุมพร ผนึกกำลังสำรวจผลกระทบ COVID-19

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จับมือ สสจ.ชุมพร ผนึกกำลังสำรวจผลกระทบ COVID-19

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี จับมือ สสจ.ชุมพร ผนึกกำลังสำรว เมื่อเวลา 13.00 น. (6 พฤศจิกายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา พร้อมกับโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ได้ดำเนินการลงพื้นที่จังหวัดชุมพร โดยมี ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ลงพื้นที่จังหวัดชุมพร เพื่อผนึกกำลังกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชุมพร ในการสำรวจผลกระทบของประชาชนที่ได้รับจากสถานการณ์การเเพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19 ) ในพื้นที่จังหวัดชุมพร ทั้งนี้ยังได้ดำเนินการสำรวจความต้องการเร่งด่วนที่จะให้มหาวิทยาลัยฯ นำองค์ความรู้และนวัตกรรมช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี แสดงความยินดีโอกาสรับตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี แสดงความยินดีโอกาสรับตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

เมื่อเวลา 11.30 น. (6 พฤศจิกายน 2563) ผศ.ดร.วัฒนา รัตนพรหม รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มอบหมายให้ ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น เข้าพบแสดงความยินดีกับท่านธีระ อนันตเสรีวิทยา ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ในโอกาสรับตำแหน่ง ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ณ ศูนย์ราชการจังหวัดชุมพร

มรส.ร่วมกับสสจ.ระนองผนึกกำลังสำรวจผลกระทบจาก COVID-19 ของประชาชนในพื้นที่

มรส.ร่วมกับสสจ.ระนองผนึกกำลังสำรวจผลกระทบจาก COVID-19 ของประชาชนในพื้นที่

เมื่อเวลา 14.00 น. (5 พฤศจิกายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา พร้อมกับโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ได้ดำเนินการลงพื้นที่จังหวัดระนอง โดยมี ผศ.ดร.เสน่ห์ บุญกำเนิด รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ วิจัยและนวัตกรรม และนายอรุณ หนูขาว ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อผนึกกำลังกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง ในการสำรวจผลกระทบที่ได้รับจากสถานการณ์เเพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 (COVID-19 ) ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดระนอง และสำรวจความต้องการเร่งด่วนที่จะให้มหาวิทยาลัยฯ นำองค์ความรู้และนวัตกรรมช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่

มรส.ระดมสมองคณะกรรมการการจัดทำแผนแม่บทโครงการอพ.สธ.-สฎ.เชื่อมั่นแล้วเสร็จภายในปีงบประมาณ พ.ศ.2563

คณะทำงานจัดเต็มองค์ความรู้ขั้นตอนการดำเนินงาน พร้อมกำหนด Procedure ลงพื้นที่ร่วมกับชุมชนและ Stakeholders เพื่อจัดทำร่างแผนแม่บท พร้อมปรับปรุงแก้ไขสู่แผนฉบับสมบูรณ์ เมื่อเวลา 14.00 น. (04 มิถุนายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี มอบหมายให้งานบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น จัดประชุมหารือคณะกรรมการจัดทำแผนแม่บทโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชเนื่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.-สฎ.) ทั้งนี้ได้มีคณะกรรมการจากคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยเข้าร่วมการประชุมดังกล่าว เช่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมสาสตร์ และคณะทำงานจากงานบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีผศ.ดร.ลักษมี ชัยเจริญวิมลกุล ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริการวิชาการ นายอรุณ หนูขาว หัวหน้างานบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ได้ชี้แจงว่า เนื่องจากที่ได้มีการประชุม ณ สำนักงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีการพูดคุยเรื่องการเดินหน้าขับเคลื่อนการจัดทำแผนขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการ อพ.สธ.-สฏ. โดยได้มีสำรวจพื้นที่ภายในโครงการฯ ซึ่งได้รับความร่วมมือจากเจ้าหน้าองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และปลูกรักษาพันธุกรรมพืชท้องถิ่นและพืชพันธุ์ดีของจังหวัดสุราษฎร์ธานีและภาคใต้ของประเทศ พร้อมทั้งส่งเสริมการสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชแก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป นอกจากนี้ยังได้นำพันธุกรรมพืชไปใช้ประโยชน์โดยกลุ่มเกษตรและเครือข่ายและใช้พัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านคณะทำงาน ได้ข้อสรุปว่าการดำเนินงานจัดทำแผนแม่บทโครงการอพ.สธ. – สฎ จะต้องมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ 1. ต้องศึกษาข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการจัดทำแผน 2. ประชุมระดมสมองผู้รับผิดชอบโดยเสนอให้มีตัวแทนจากวิทยาลัยนานาชาติการท่องเที่ยวร่วมการทำ swot analysis ด้วย 3. ประชุมตัวแทนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders พร้อมทั้งแบ่งโซนเป็นกลุ่มย่อย…

การพัฒนาหลักสูตรระยะสั้น เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับคนทุกช่วงวัย

เมื่อเวลา 10.00 น. (3 พฤศจิกายน 2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยโครงการจัดตั้งกองบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น ศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (LLC) ได้ดำเนินการประชุมติดตามความก้าวหน้าหลักสูตรระยะสั้น เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับคนทุกช่วงวัย ณ ห้องเฟื่องฟ้า 3 ชั้น 3 อาคารสำนักงานอธิการบดี โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ สุวรรณทิพย์ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนยุทธศาสตร์และทรัพยากรมนุษย์ และคณะผู้บริหารพร้อมทั้งคณะกรรมการหลักสูตร ซึ่งการดำเนินงานหลักสูตรดังกล่าวเป็นไปตามนโยบายขอมหาวิทยาลัย

End of content

End of content